Ultra Engineering : บริษัท อุลตร้าเอ็นจิเนียริ่ง จำกัด | สัมมนา นวัตกรรมวิศวกรรมความปลอดภัย การบำรุงรักษาการผลิตและเครื่องกล แบบ FLUKE Smart Technology


สัมมนา นวัตกรรมวิศวกรรมความปลอดภัย การบำรุงรักษาการผลิตและเครื่องกล แบบ FLUKE Smart Technology

 

สัมมนา นวัตกรรมวิศวกรรมความปลอดภัย การบำรุงรักษาการผลิตและเครื่องกล แบบ FLUKE Smart Technology

 

            ในหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยต้องเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจในหลายกิจการ ซึ่งทําให้เกิดการชะลอตัวในสายงานการผลิตของโรงงาน แต่สิ่งที่ขาดไม่ได้คือการซ่อมบํารุงละดูแลรักษาเครื่องจักรต่างๆ ไม่ให้เกิดความเสียหายเพื่อเตรียมความพร้อมในการผลิตสินค้าหลังจากพ้นวิกฤตการระบาดของโรคโควิด-19

            ดังนั้นการตรวจวัดเพื่อการซ่อมบำรุงรักษาอุปกรณ์ทางไฟฟ้าและซ่อมเครื่องจักรจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะสามารถป้องกันไม่ให้เครื่องจักรชำรุดและต้องซื้อหรือเปลี่ยนเครื่องใหม่ทำให้เป็นการลงทุนเพิ่มขึ้น

 

วันพุธที่ 19 กรกฏาคม 2566 เวลา 8.40-16.30 น.  .ห้อง  Francis Savier 1 ชั้น 2 บ้านผู้หว่าน ,นครปฐม

เวลา

เนื้อหา

08.40 น.

  ลงทะเบียนเข้างาน

09.10 น.

  กล่าวต้อนรับและเปิดงาน

09.20 น.

 

คุณพลธร

คุณพลธร

1.Process calibration and Application

- Process Calibration for Instrument

- Process Calibration for Smart transmitter

- Closed Loop Calibration in the Process

- การตรวจสอบปัญหาในระบบการผลิต (Process) ที่เกิดจาก Drive

10.40 น.

พักรับประทานของว่าง   

11.00 น.

 

คุณจิรายุ

 2. การตรวจสอบสภาพระบบไฟฟ้าและคุณภาพไฟฟ้า

- การทดสอบฉนวนของอุปกรณ์ไฟฟ้า, สายไฟฟ้า, มอเตอร์ ฯลฯ

- การทดสอบการติดตั้งระบบไฟฟ้าและการต่อลงดิน

- การตรวจวัดคุณภาพไฟฟ้าและพลังงานที่สูญเสีย

- การวิเคราะห์ประสทธิภาพของมอเตอร์

12.20 น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน       

13.20 น.

 

คุณสารกิจ

3.ตรวจประเมินความพร้อมมของเครื่องจักรแบบ FLUKE Smart Technology

- วัดการสั่นสะเทือนของมอเตอร์, แอร์คอมเพรสเซอร์และชิลเลอร์

- การหมุนเวียนของอากาศในระบบมอเตอร์

- ตรวจสอบการรั่วไหลของก๊าซด้วยอัลตร้าโซนิค

- ทดสอบแบตเตอรี่ UPS เสี่อมจากสาเหตุใด

14.30 น.

 

ดร.ธีระวัฒน์

คุณปรียนิตต์           

4.การใช้กล้องถ่ายภาพความร้อนเพื่อค้นหาปัญหาในงานซ่อมบํารุงเครื่องจักร

- การประยุกต์ใช้งานกล้องถ่ายภาพความร้อนสําหรับกระบวนการผลิต (Process)

- การวิเคราะห์ปัญหาความร้อนในอุปกรณ์ ด้วยกล้องถ่ายภาพความร้อน

- การแก้ไขปัญหาที่เกิดกับเครื่องจักรและระบบไฟฟ้าในโรงงานด้วยกล้องถ่ายภาพความร้อน      

15.30 น.

พักรับประทานของว่าง   

16.00 น.

5.การตรวจวัดภาคปฏิบัติ

16.30 น.

ปิดการสัมมนา

 

ลงทะเบียนได้ที่ :::   คลิกกรอกข้อมูล


PDF File Download